โรคนิ่วในต่อมทอนซิล (Tonsil stones) : อาการ สาเหตุ การรักษา

โรคนิ่วในต่อมทอนซิล (Tonsil stones) : อาการ สาเหตุ การรักษา

15.10
8510
0

นิ่วในต่อมท่อนซิล (Tonsil stones) หรือก้อนทอนซิน เกิดจากเศษซากของสิ่งมีชีวิตที่ตายเเล้วมีชื่อภาษาอังกฤษเรียกว่า tonsil calculi หรือ tonsilloliths บางครั้งนิ่วในต่อมทอนซิลเกิดจากสิ่งที่ทำให้เกิดการระคายเคืองต่อมทอนซิลหรือลำคอ

ลักษณะของนิ่วทอนซิลเป็นก้อนสีขาวขุ่นหรือสีเหลืองขุ่นซึ่งมีตั้งแต่ขนาดเล็กไปจนถึงขนาดใหญ่ โดยก้อนนิ่วทอนซิลที่มีขนาดใหญ่ที่สุดคือ 14.5 เซนติเมตรได้ถูกค้นพบเเละจดบันทึกไว้ในปี 1936

ผู้ที่มีนิ่วในต่อมทอนซิลอาจไม่รู้ว่ามีนิ่วเกิดขึ้นซึ่งนิ่วในต่อมทอนซิลอาจกลายเป็นบ้านของแบคทีเรียและทำให้เกิดกลิ่นลมหายใจเหม็นได้

ต่อมทอนซิลคือเนื้อเยื่อที่เป็นก้อนนอนอยู่ด้านหลังคอมีอยู่สองฝั่ง

ต่อมทอนซิลทำหน้าที่ต่อสู้กับเชื้อโรคที่ทำให้เกิดการติดเชื้อผ่านทางช่องปาก โดยต่อมทอนซิลทำหน้าที่ดักจับแบคทีเรียเเละไวรัสรวมไปถึงสิ่งแปลกปลอมอื่นๆที่เข้ามาอีกทั้งยัง “สอน” ระบบภูมิคุ้มกันให้รู้วิธีในการต่อสู้กับเชื้อโรคเหล่านี้อีกด้วย  

อาการของนิ่วทอนซิน

นิ่วทอนซิลเกิดจากซากของแบคทีเรียที่ตายเเล้วและตัดอยู่กับรอยเเตกบนต่อมทอนซิล

เนื่องจากปัจจุบันการผ่าตัดต่อมทอนซิลทำได้ยากกว่าเมื่อก่อนเพราะทุกคนมีต่อมทอนซิลดังนั้นผู้คนส่วนใหญ่จึงมีความเสี่ยงเป็นนิ่วในท่อนซิลได้

การนำต่อมทอนซิลออกเพื่อป้องกันต่อมทอนซิลอักเสบสามารถทำได้ด้วยการผ่าตัวทั่วไป

แต่อย่างไรก็ตามการผ่าตัดถือเป็นทางเลือกสุดท้ายของการรักษาต่อมทอนซิลอักเสบ 

ลักษณะอาการของนิ่วทอนซิน

ผู้คนส่วนใหญ่ผู้ป่วยนิ่วในต่อมทอนซิลมักไม่มีอาการ ปรากฎ

ถ้าหากมีอาการเกิดขึ้นจะมีอาการดังต่อไปนี้

  • มีกลิ่นลมหายใจที่เหม็นมากเมื่อมีนิ่วทอนซิลเกิดขึ้นเพราะนิ่วทอนซิลเป็นบ้านให้กันแบคทีเรียที่ต้องการออกซิเจนจึงทำให้เกิดกลิ่นเหม็นของซัลไฟด์
  • มีความรู้สึกเหมือนมีอะไรบ้างอย่างติดอยู่ที่ด้านหลังของลำคอ
  • มีแแรงดันหรืออาการเจ็บปวดที่ช่องหู

นิ่วทอนซิลมีลักษณะเป็นเม็ดเล็กๆสีขาวหรือสีเหลืองติดอยู่ที่ด้านหลังของลำคอซึ่งนิ่วท่อนซิลขนาดใหญ่สามารถมองเห็นได้โดยนิ่วทอนซิลที่มีขนาดใหญ่มากจะยื่นออกมาจากต่อมทอนซิลอยู่รวมกันมีลักษณะคล้ายกับก้อนหินที่ติดอยู่ภายในปาก 

การรักษานิ่วทอนซิน

โดยปกตินิ่วทอนซิลสามารถรักษาได้ที่บ้านซึ่งนิ่วทอนซิลสามารถหลุดออกในระหว่างการกลั้วลำคอ

แต่อย่างไรก็ตามถ้าหากคุณเห็นนิ่วทอนซิลเกิดขึ้นที่ลำคอแต่ไม่มีอาการอะไรเกิดขึ้น คุณไม่จำเป็นต้องพยายามกำจัดนิ่วทอนซิลออก

ผู้ที่เป็นนิ่วท่อนซิลสามารถใช้ก้านสำลีเพื่อดันก้อนนิ่วให้หลุดออกจากคอได้และค่อยๆกดเนื้อเยื่อบริเวณรอบๆทันที โดยควรทำการกดด้วยการดันนิ่วท่อนซิลออกจากลำคอทางปากแทนที่จะดันนิ่วท่อนซิลเข้าไปในลำคอ 

ข้อควรระวังคือไม่ควรออกดันก้อนนิ่วเเรงเกินไปเพราะทำให้เกิดเสี่ยงต่อการเกิดอาการบาดเจ็บในลำคอได้และไม่ควรใช้นิ้วหรือของแหลมคมเเหย่เข้าไปในลำคอเพื่อกำจัดนิ่วบนต่อมทอนซิล

ก้านสำลีทำความสะอาดมีหลายประเภทซึ่งสามารถหาซื้อได้ผ่านช่องทางออนไลน์ 

ถ้าหากนิ่วทอนซิลทำให้เกิดอาการบาดเจ็บหรือทำให้เกิดการกลืนลำบาก ผู้ป่วยสามารถกลั้วคอด้วยน้ำอุ่นผสมเกลือได้

ผู้ที่มีอาการนิ่วทอนซิลควรไปพบแพทย์เมื่อมีอาการดังต่อไปนี้เกิดขึ้น

  • ผู้ที่มีอาการนิ่วทอนซิลเเต่ไม่มีก้อนนิ่วปรากฎให้เห็น
  • ไม่สามารถกำจัดก้อนนิ่วได้เองที่บ้านหรือมีก้อนนิ่วบางส่วนที่ไม่สามารถนำออกจากลำคอได้
  • ต่อมทอนซิลมีอาการบวมเป็นสีแดงหรือมีอาการเจ็บปวด
  • เกิดอาการเจ็บปวดหลังจากพยายามนำนิ่วทอนซิลออกจากลำคอด้วยตัวเองที่บ้าน

แพทย์สามารถทำการรักษานิ่วทอนซิลด้วยการยิงเลเซอร์ลอกชั้นผิวได้

วิธีการนี้เรียกว่าการผ่าตัดต่อทอนซิลแบบโคเบลชั่นเป็นการผ่าตัดเพื่อปรับปรุงรูปร่างของต่อมท่อนซิลเพื่อลดรอยเเตกเเยกบนต่อมทอนซินที่ทำให้นิ่วทอนซิลโตขึ้น 

วิธีการผ่าตัดนี้ทำภายใต้การใช้ยาชาและผู้ป่วยสามารถกลับมาทานอาหารเเละทำกิจกรรมได้ตามปกติเมื่อผ่านไปหนึ่งอาทิตย์

แต่อย่างไรก็ตามนิ่วทอนซิลสามารถกลับมาเกิดขึ้นได้อีกครั้ง

การกำจัดนิ่วทอนซิล

วิธีเดียวที่สามารถกำจัดนิ่วทอนซิลในระยะยาวได้คือการกำจัดนิ่วทอนซิลด้วยการผ่าตัดนำต่อมทอนซิลออกจากลำคอถ้าหากสามารถทำได้ แม้ว่าจะหายากมากที่ต่อมทอนซิลจะกลับมาเกิดขึ้นอีกครั้งหลังจากที่ผ่าตัดนำออกไปเเล้ว 

การผ่าตัดต่อมทอนซิลมีความปลอดภัยแต่สามารถทำให้เกิดอาการเจ็บคอหลายวันหลังจากได้รับการผ่าตัด เช่นเดียวกับการผ่าตัดทั่วไปการผ่าตัดต่อมทอนซิลมีความเสี่ยงเช่นกัน

ความเสี่ยงดังกล่าวนี้หมายถึงการมีเลือดออก การติดเชื้อ อาการบวมที่ทำให้เกิดการหายใจลำบากและมีส่วนน้อยที่สามารถทำให้เกิดการสูญเสียความรู้สึกที่ลำคอ

ถ้าหากนิ่วทอนซิลทำให้เกิดอาการระคายเคืองเพียงเล็กน้อย การรักษาด้วยวิธีผ่านตัดอาจก่อให้เกิดความเสี่ยงมากกว่าส่งผลดีในการรักษา 

นี่คือแหล่งที่มาของบทความของเรา

Комментарии (0)

Leave a Reply

Your email address will not be published. Required fields are marked *