ภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะ (Arrhythmia) : อาการ สาเหตุ การรักษา

ภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะ (Arrhythmia) : อาการ สาเหตุ การรักษา

16.10
1839
0

ภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะคืออะไร

โรคหัวใจเต้นผิดจังหวะ (Arrhythmia) คือถึงกลุ่มอาการที่เกิดขึ้นจากการที่คลื่นหัวใจผิดปกติซึ่งเกิดได้ทั้งเร็วเเละช้า

ภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะมีหลายประเภทได้แก่

  • ประเภท bradycardia หรือหัวใจเต้นช้ากว่าปกติ
  • ประเภท tachycardia หรือหัวใจเต้นเร็วกว่าปกติ
  • ภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะหรือเรียกว่าเป็นภาษาอังกฤษว่า flutter หรือ fibrillation  
  • หัวใจบีบตัวเร็วเกินไปหรือหัวใจโต

โดยส่วนใหญ่ภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะไม่เป็นอันตรายร้ายเเรงและไม่ทำให้เกิดภาวะเเทรกซ้อน แต่อย่างไรก็ตามภาวะหัวใจผิดปกตินี้สามารถเพิ่มควมเสี่ยงทำให้เกิดโรคเลือดอุดตันหัวใจหรือภาวะหัวใจหยุดเต้นได้ 

บางคนอาจได้ยินแพทย์พูดคำว่า “หัวใจเต้นผิดจังหวะ” หมายถึงอาการผิดปกติที่เกิดกับการเต้นของหัวใจซึ่งคำว่าหัวใจเต้นผิดจังหวะและหัวใจเต้นผิดจังหวะมีความหมายเหมือนกันแต่คำว่าหัวใจเต้นผิดจังหวะมักพบได้บ่อยกว่า 

ประเภทของโรคข้ออักเสบ

ภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะมีหลายประเภท โดยสามารถอธิบายได้ดังต่อไปนี้ 

หัวใจเต้นไม่เป็นจังหวะและเร็วผิดปกติ  (Atrial fibrillation) 

การเต้นของหัวใจเต้นผิดจังหวะที่ทำให้หัวใจเต้นเร็วผิดปกติ Atrial fibrillation(AF) เป็นภาวะการเต้นผิดปกติของหัวใจที่มักเกิดขึ้นผู้ใหญ่ที่มีอายุมากกว่า 65 ปีขึ้นไป 

โดยอาการนี้ทำให้หัวใจเกิดการบีบตัวและคลายหัวใจอย่างรุนเเรงจึงทำให้หัวใจเต้นเร็วขึ้น

หัวใจเต้นเร็วผิดปกติ (Atrial Flutter) 

อาการนี้เกิดขึ้นเมื่อเส้นใยกล้ามเนื้อเกิดอาการสั่นหรือชักกระตุกแบบสุ่มในหัวใจห้องบนขวาโดยปกติมักเกิดขึ้นที่บริเวณหัวใจห้องบนที่ทำงานผิดปกติกระบวนการนี้จึงทำให้เกิดภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะ 

หลายคนเคยมีอาการทั้งกล้ามเนื้อหัวใจชักกระตุกหรือหัวใจสั่นผิดปกติ

อาการหัวใจเต้นเร็วผิดปกติเป็นอาการที่อันตรายและส่วนใหญ่สามาถทำให้เกิดอาการกล้ามเนื้อหัวใจชักกระตุกได้หากไม่รีบทำการรักษา

หัวใจห้องบนเต้นผิดปกติ (Supraventricular tachycardia) 

อาการหัวใจเต้นผิดจังหวะแบบ supraventricular tachycardia (SVT)  หมายถึงอาการหัวใจที่เต้นเเรงผิดปกติ ผู้ที่เคยมีอาการเจ็บหน้าอกจากภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะอาการนี้สามารถหายเองได้ภายในไม่กี่นาทีหรือชั่วโมง แพทย์ได้จัดให้อาการเต้นผิดปกติที่มีอาการหัวใจสั่นเเละกล้ามเนื้อหัวใจชักกระตุกอยู่ในประเภท SVTs

หัวใจห้องล่างเต้นผิดปกติแบบ Ventricular tachycardia 

อาการนี้หมายถึงอาการผิดปกติของสัญญาณชีพจรที่เริ่มเกิดขึ้นที่หัวใจห้องล่างและทำให้เกิดภาวะหัวใจเต้นเร็วผิดปกติโดยอาการนี้มักเกิดขึ้นถ้าหากมีบาดแผลจากภาวะกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลันที่เกิดขึ้นก่อนหน้านี้   

หัวใจห้องล่างเต้นผิดปกติแบบ Ventricular fibrillation

เป็นอาการผิดปกติที่เกิดขึ้นกับการเต้นของหัวใจทำให้หัวใจเต้นเร็วขึ้นหรือหัวใจเต้นแบบไม่สอดคล้องกันและหัวใจห้องล่างเต้นผิดปกติซึ่งทำให้หัวใจด้านล่างไม่เกิดการปั๊มเลือดแต่เกิดอาการสั่นเเทน 

อาการหัวใจด้านล่างเต้นผิดปกติแบบ Ventricular fibrillation เป็นอันตรายต่อการใช้ชีวิตและมีความเกี่ยวข้องกับโรคหัวใจโดยโรคหัวใจวายมักเกิดจากภาวะนี้ 

โรคคิวทียาว

โรคนี้หมายถึงภาวะผิดปกติของจังหวะการเต้นของหัวใจที่ทำให้หัวใจเต้นเร็วขึ้นและหัวใจเต้นเเบบไม่สอดคล้องกัน ผู้ที่มีอาการนี้เกิดขึ้นมักเป็นลมได้ง่ายซึ่งเป็นอันตรายกับชีวิต

อาการนี้สามารถเกิดจากความผิดปกติทางพันธุกรรมหรือการใช้ยาบางประเภทเป็นประจำ

สาเหตุของโรคหัวใจเต้นผิดจังหวะ

การรบกวนคลื่นสัญญาณนำไฟฟ้าของกระเเสประสาทที่ไปกระตุ้นการบีบตัวของหัวใจทำให้เกิดภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะได้ เพราะส่งผลให้คลื่นไฟฟ้าหัวใจผิดปกติ

มีหลายปัจจัยที่ทำให้หัวใจทำงานผิดปกติได้แก่ 

  • การดื่มแอลกอฮอลมากเกินไป
  • โรคเบาหวาน
  • การใช้ยาที่ผิดปกิ
  • การดื่มกาแฟมากเกินไป
  • โรคหัวใจล้มเหลวเช่นโรคเลือดคั่งในหัวใจ 
  • โรคความดันโลหิตสูง
  • ภาวะต่อมไทรอยด์ทำงานผิดปกติหรือต่อมไทรอยด์ทำงานมากเกินไป
  • ความเครียด
  • เกิดแผลเป็นขึ้นที่หัวใจ โดยปกติมักทำให้เกิดภาวะหัวใจล้มเหลว 
  • การสูบบุหรี่
  • การทานอาหารเสริมหรือสมุนไพร
  • การทานยาบางประเภท
  • รูปร่างของหัวใจเปลี่ยนแปลงไป

ผู้ที่มีสุขภาพหัวใจเเข็งเเรงมักจะไม่มีอาการหัวใจเต้นผิดจังหวะเกินขึ้นเป็นเวลานานเว้นเเต่มีปัจจัยภายนอกมากระตุ้นเช่นการใช้สารเคมีที่ผิดปกติกับร่างกายหรือการช็อตไฟฟ้า

อย่างไรก็ตามภาวะการทำงานของหัวใจที่ผิดปกติอาจเกิดจากสัญญาณชีพจรไม่สามารถเดินทางไปที่หัวใจได้ตามปกติจึงทำให้เกิดความเสี่ยงเป็นโรคหัวใจเต้นผิดจังหวะได้ 

อาการของโรคหัวใจเต้นผิดจังหวะ

อาการของโรคหัวใจเต้นผิดจังหวะไม่สามารถสังเกตุเห็นได้อย่างชัดเจน แต่อย่างไรก็ตามแพทย์สามารถตรวจสอบอาการหัวใจเต้นผิดจังหวะได้ระหว่างการตรวจโรคหรือการตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจ 

ถ้าหากใดสังเกตุว่ามีอาการของหัวใจเต้นผิดจังหวะเกิดขึ้นอาจไม่ได้หมายถึงภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะอย่างรุนเเรง

บางคนที่มีภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะอาจจะไม่มีอาการเเสดงหรือในขณะที่คนที่มีภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะอาจไม่มีอาการรุนเเรงที่เป็นอันตรายต่อชีวิตได้

อาการของโรคหัวใจเต้นผิดจังหวะขึ้นอยู่กับประเภทของภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะได้แก่

อาการของหัวใจเต้นเเรงกว่าปกติ

อาการของหัวใจที่เต้นเเรงกว่าปกติได้แก่ 

  • อาการหายใจสั้นๆ
  • อาการเวียนหัว
  • หน้ามืดคล้ายจะเป็นลม หมดสติ
  • เกิดกล้ามเนื้อชักกระตุกที่หน้าอก
  • ใจสั่น
  • วิงเวียนศีรษะ
  • หมดเรี่ยวเเรง

อาการของหัวใจเต้นช้ากว่าปกติ

อาการหัวใจเต้นช้ากว่าปกติทำให้เกิดอาการดังต่อไปนี้ 

  • มีอาการเจ็บหน้าอก
  • มีปัสสาวะข้น
  • เกิดอาการมึนงง
  • ไม่สามารถออกกำลังกายได้ตามปกติ
  • วิงเวียนศีรษะ
  • หมดเเรงอ่อนล้า
  • เกิดอาการใจสั่น
  • หายใจสั้นๆ
  • หน้ามืดคล้ายจะเป็นลม หมดสติ
  • มีเหงื่อออกมาก

อาการของหัวใจเต้นไม่เป็นจังหวะและเร็วผิดปกติ 

เมื่ออาการหัวใจเต้นไม่เป็นจังหวะหรือเต้นเร็วผิดปกติอาจทำให้เกิดอาการเหล่านี้ได้แก่

  • อาการเจ็บหน้าอก
  • หายใจไม่ออก
  • วิงเวียนศีรษะ
  • ใจสั่น
  • หน้ามืดคล้ายจะเป็นลม หมดสติ
  • หมดเเรงและอ่อนล้า

การรักษาโรคหัวใจเต้นผิดจังหวะ

การรักษาโรคหัวใจผิดจังหวะจำเป็นต้องรักษาเมื่อเกิดอาการรุนเเรงเเละมีคามเสี่ยงที่ทำให้เกิดโรคหัวใจเต้นผิดจังหวะหรือมีภาวะเเทรกซ้อนได้ถ้าเกิดอาการรุนเเรง 

อาการของหัวใจเต้นผิดจังหวะต้องใช้วิธีการรักษาหลายประเภทได้แก่  โดยวิธีรักษาโรคหัวใจเต้นผิดจังหวะมีดังนี้

การรักษาหัวใจที่เต้นช้ากว่าปกติ (bradycardia)

ถ้าเกิดภาวะการเต้นของหัวใจที่ช้ากว่าปกติเนื่องจากอาการที่กล่าวมา แพทย์จะทำการรักษาอาการที่พบก่อนจากนั้นเเพทย์จะแนะนำให้ใช้เครื่องกระตุ้นหัวใจ

เครื่องกระตุ้นหัวใจเป็นอุปกรณ์ขนาดเล็กที่เเพทย์จะนำไปติดไว้ที่บนผิวหนังหน้าอกหรือท้องเพื่อช่วยควบคุมการเต้นของหัวใจที่ผิดปกติ เครื่องกระตุ้นหัวใจจะใช้สัญญาณไฟฟ้าจากชีพจรให้ตรงมาสู่หัวใจทันทีเพื่อทำให้หัวใจที่เต้นช้ามีจังหวะเต้นตามปกติ

การรักษาหัวใจที่เต้นเร็วกว่าปกติ (tachycardia)

มีวิธีรักษาโรคหัวใจเต้นเร็วกว่าปกติหลายแบบแตกต่างกันได้แก่

การกระตุ้นเวกัส (Vagal Maneuvers) เป็นการรักษาภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะชั่วคราวเช่นคนที่เพิ่งออกกำลังอาจมีภาพของหัวใจเต้นผิดจังหวะซึ่งเริ่มต้นขึ้นที่หัวใจห้องล่าง

การใช้ยารักษาควบคุมจังหวะการทานยาไม่สามารถรักษาอาการหัวใจเต้นผิดจังหวะได้แต่ใช้สำหรับลดจังหวะการเต้นของหัวใจที่เกิดขึ้นหลายครั้งซึ่งการใช้ยาสามารถช่วยทำให้สัญญาณไฟฟ้าควบคุมการทำงานของหัวใจได้

การช็อตหัวใจ (Cardioversion) แพทย์จะใช้กระเเสไฟฟ้าช็อตหัวใจเพื่อทำให้หัวใจเริ่มต้นการทำงานใหม่และทำให้หัวใจเต้นเป็นปกติ 

การใช้สายสวนเพื่อจี้กล้ามเนื้อหัวใจที่นำไฟฟ้าผิดปกติ (Ablation Therapy) 

ศัลยแพทย์จะใช้สายสอดสวนเข้าไปในบริเวณจุดที่เกิดปัญหาทำให้หัวใจเต้นผิดจังหวะจากนั้นศัลยแพทย์จะใช้สายสวนทำลายบริเวณนั้นเล็กน้อยเพื่อทำลายเนื้อเยื่อที่ทำให้เกิดความผิดปกติเพื่อทำให้หัวใจเต้นเป็นปกติ

การฝังเครื่องกระตุกไฟฟ้าหัวใจ (Implantable Cardioverter-Defibrillator: ICD) ศัลยแพทย์จะใช้เครื่องกระตุกไฟฟ้าติดไว้ที่ใกล้กับกระดูกไหปลาร้าซ้ายและมีอุปกรณ์ตรวจสอบจังหวะการเต้นของหัวใจ หากพบว่าหัวใจเต้นเเรงกว่าปกติ เครื่องกระตุกไฟฟ้าจะกระตุ้นทำให้หัวใจกลับมาเป็นปกติ

การผ่าตัด Maze Procedure ที่เนื้อเยื่อหัวใจห้องบนให้เกิดแผลเป็นจากนั้นแพทย์จะทำการรักษาบาดแผลที่เกิดขึ้นและกั้นเป็นเเนวทางเพื่อทำให้สัญญาณชีพจรจึงช่วยทำให้หัวใจเต้นได้อย่างมีประสิทธิภาพ 

การผ่าตัดผนังหัวใจโป่งพอง บางครั้งสามารถเกิดภาวะเส้นเลือดโป่งพองหรือเส้นตุ่มนูนขึ้นในเล้นเลือดได้ซึ่งทำให้หัวใจเต้นผิดจังหวะได้ ถ้าหากรักษาด้วยวิธีอื่นเเล้วไม่ได้ผลแพทย์จำเป็นต้องผ่าตัดเพื่อนำเส้นเลือดที่โป่งพองออก 

การผ่าตัดหลอดเลือดหัวใจบายพาสการรักษาด้วยวิธีนี้เเพทย์จะทำการผ่าตัดปลูกถ่ายเส้นเลือดเเดงหรือเส้นเลือดดำจากส่วนใดส่วนหนึ่งของร่างกายมาใส่ไว้ที่หลอดเลือดเลี้ยงหัวใจเพื่อทำให้บริเวณที่เกิดการหมุนเวียนเลือดแคบลงและทำให้เลือดสามารถเข้าไปเลี้ยงที่กล้ามเนื้อหัวใจได้มากขึ้น  

นี่คือแหล่งที่มาของบทความของเรา

Комментарии (0)

Leave a Reply

Your email address will not be published. Required fields are marked *