หัวใจโต (Cardiomegaly) : อาการ สาเหตุ การรักษา

หัวใจโต (Cardiomegaly) : อาการ สาเหตุ การรักษา

01.12
3763
0

ภาวะหัวใจโต (Cardiomegaly)หมายถึงภาวะที่หัวใจมีขนาดโตขึ้นมากกว่าปกติ ซึ่งไม่ใช่โรคแต่อาจเป็นสัญญาณเตือนของโรคอื่นๆ ภาวะหัวใจโตที่ไม่รุนเเรงหมายถึงภาวะหัวใจโตขนาดปานกลาง

Cardiomegaly

ข้อเท็จจริงเกี่ยวกับภาวะหัวใจโต

  • ผู้ที่มีภาวะหัวใจโตระดับปานกลางอาจไม่มีอาการใดๆเกิดขึ้น
  • ภาวะหัวใจโตขนาดปานกลางสามารถหายไปเองได้ในระยะเวลาสั้นๆ
  • วิธีการรักษาสำหรับภาวะหัวโตขึ้นอยู่กับสาเหตุ

ภาพรวม

ภาวะหัวใจโตภาษาอังกฤษเรียกว่า cardiomegaly เป็นภาวะที่ก่อให้เกิดอันตรายตั้งแต่ระดับปานกลางไปจนถึงรุนเเรง

ภาวะหัวใจโตสามารถเกิดขึ้นจากหลายโรคได้แก่ โรคความดันโลหิตสูง โรคหลอดเลือดหัวใจและการติดเชื้อรวมถึงความผิดปกติทางพันธุกรรมและโรคกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด 

ภาวะหัวใจโตเป็นอาการที่เกี่ยวข้องกับกล้ามเนื้อหัวใจโตซึ่งเป็นสาเหตุทำให้เกิดอาการหัวใจโตโดยแบ่งออกเป็น 2 ประเภทได้แก่

  • หัวใจขยายตัวโตขึ้นและบีบตัวได้ไม่ดีเท่าปกติ : ภาวะหัวใจโตชนิดนี้มีลักษณะหัวใจห้องล่างซ้ายโตและทำงานได้ไม่ค่อยดี ซึ่งหัวใจห้องล่างซ้ายนี้มีหน้าที่หลักคือการสูบฉีดเลือดไปหล่อเลี้ยงส่วนต่างๆของร่างกาย ดังนั้นอาการนี้จึงเป็นสาเหตุหลักของภาวะหัวใจโต
  • กล้ามเนื้อผนังหัวใจหนา : สำหรับลักษณะของภาวะหัวใจโตชนิดนี้เกิดจากการที่เซลล์ของกล้ามเนื้อหัวใจมีขนาดใหญ่ขึ้นและผนังของห้องหัวใจด้านล่างหนาขึ้น การหนาขึ้นของผนังหัวใจนี้ขัดขวางการไหลเวียนเลือดภายในผนังหัวใจห้องล่าง

อาการของภาวะหัวใจโตคืออะไร

ในกรณีส่วนใหญ่อาการหัวใจโตอาการมักเกิดขึ้นในระดับปานกลางหรือรุนเเรง

อาการที่สามารถสังเกตุพบได้แก่

สาเหตุหัวใจโต

การดื่มแอลกอฮอลากเกินไปสามารถทำให้เกิดภาวะหัวใจโตระดับปานกลางได้

ภาวะหัวใจโตระดับปานกลางสามารถเกิดขึ้นจากการที่หัวใจทำงานหนักหรือเกิดความเสียหาย ซึ่งเกิดจากปัจจัยดังต่อไปนี้

  • ลิ้นหัวใจผิดปกติ
  • โรคที่เกิดจากการมีสารแอมีลอยด์เป็นโรคที่พบได้น้อยซึ่งเป็นโรคที่เข้าไปรบกวนการทำงานของหัวใจ
  • ภาวะโลหิตจาง
  • ภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะ
  • โรคกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดเป็นโรคเกี่ยวกับกล้ามเนื้อหัวใจ 
  • มีปัญหาโรคหัวใจที่เกิดจากกรรมพันธุ์
  • โรคเบาหวาน
  • เป็นโรคเกี่ยวกับโรคลิ้นหัวใจ
  • ภาวะธาตุเหล็กเกินเป็นภาวะที่เกิดขึ้นจากมีธาตุเหล็กในร่างกายมากเกินไป
  • มีประวัติภาวะหัวใจล้มเหลว
  • ความดันโลหิตสูง
  • ต่อมไทรอยด์ทำงานมากเกินไป
  • ต่อมไทรอยด์ทำงานต่ำ
  • โรคอ้วน
  • เกิดภาวะหยุดหายใจขณะนอนหลับ
  • ภาวะน้ำในเยื่อหุ้มหัวใจมากผิดปกติ
  • หัวใจเต้นเร็วผิดปกติ

อย่างไรก็ตามยังสาเหตุของภาวะหัวใจโตขนาดปานกลาง

สาเหตุของภาวะหัวใจโตเฉียบพลันระดับปานกลาง

การรักษาภาวะหัวใจโตโดยแพทย์จำเป็นในบางกรณีเท่านั้นและสาเหตุของภาวะหัวใจโตเฉียบพลันได้แก่

  • การดื่มแอลกอฮลหรือใช้ยามากเกินไป : การใช้ยาผิดปกติสามารถทำให้เกิดภาวะหัวใจโตระดับปานกลางได้ การรักษาสามารถช่วยทำให้หัวใจกลับไปเป็นปกติได้
  • ความเครียดอย่างรุนเเรง : ความเครียดสามารถทำให้เกิดโรคหัวใจจากความเครียดได้ ซึ่งอาการนี้เกิดขึ้นผู้ที่มีความเครียดทางอารมณ์และด้านร่างกายประมาณ 75 เปอร์เซนต์
  • การตั้งครรภ์ : บางครั้งหัวใจของคุณแม่ที่ตั้งครรภ์มีขนาดใหญ่ขึ้นเมื่อใกล้คลอดบุตร ภาวะหัวใจโตประเภทนี้เรียกว่าภาวะกล้ามเนื้อหัวใจผิดปกติระหว่างการตั้งครรภ์หรือหลังคลอด
  • การติดเชื้อไวรัสที่หัวใจ : อาจจำเป็นต้องใช้ยาต้านไวรัส ซึ่งใช้รักษาอาการติดเชื้อจากไวรัสของหัวใจที่สามารถทำให้เกิดภาวะหัวใจโตได้

การรักษาหัวใจโต

แม้ว่าภาวะหัวใจโตสามารถหายเองได้ แต่อย่างไรก็ตามมีวิธีการรักษาภาวะหัวใจโตดังต่อไปนี้

การใช้ยา

วิธีการรักษาหัวใจโตที่แนะนำขึ้นอยู่กับสาเหตุที่ทำให้เกิดภาวะหัวใจพองตัว การใช้ยาสามารถนำมาใช้เพื่อรักษาอาการเต้นของหัวใจที่ผิดปกติและโรคความดันโลหิตสูงและยาขับปัสสาวะที่นำมาใช้ลดความดันในหลอดเลือดแดงที่ออกจากหัวใจรวมถึงยาละลายลิ่มเลือดที่นำมาใช้ป้องกันความเสี่ยงของการเกิดลิ่มเลือดอุดตัน

อาการอื่นที่เกิดขึ้นจากภาวะหัวใจโตเช่นภาวะโลหิตจางหรือความผิดปกติของต่อมไทรรอยด์สามารถใช้ยารักษาได้เช่นกัน

เครื่องมือเเพทย์

ถ้าหากการใช้ยาไม่สามารถรักษาภาวะหัวใจโตระดับปานกลางได้หรือถ้าหากมีอาการหัวใจโตระดับปานกลางหรือรุนเเรง ผู้ป่วยจำเป็นต้องใช้อุปกรณ์เสริมทางการแพทย์

อุปกรณ์ไฟฟ้าทางการแพทย์สามารถนำมาใช้เพื่อช่วยให้อัตราการเต้นของหัวใจสม่ำเสมอสำหรับโรคหัวใจขยายตัวโตขึ้นและบีบตัวไม่เท่ากันตามปกติ ผู้ที่มีภาวะหัวใจเต้นไม่เป็นจังหวะอย่างรุนเเรงอาจจำเป็นต้องฝังเครื่องกระตุกหัวใจ (ICD) เพื่อกระตุ้นหัวใจและควบคุมจังหวะการเต้นของหัวใจ

การผ่าตัด

โดยปกติการผ่าตัดมักนำมาใช้กับภาวะหัวใจโตระดับรุนเเรงหรือในผู้ป่วยที่ไม่ตอบสนองกับการรักษาด้วยวิธีอื่นๆ ซึ่งขึ้นอยู่กับปัจจัยหลายอย่าง วิธีการผ่าตัดดังต่อไปนี้เป็นวิธีการรักษาที่แนะนำสำหรับผู้ป่วยโรคหัวใจโตซึ่งได้แก่

  • การผ่าตัดลิ้นหัวใจ
  • การผ่าตัดบายพาสเส้นเลือดหัวใจ
  • การผ่าตัดปลูกถ่ายหัวใจ

การเปลี่ยนวิธีการใช้ชีวิตและการดูแลตนเองที่บ้าน

ผู้ป่วยโรคหัวใจโตอาจสามารถบรรเทาความรุนเเรงของโรคนี้ได้ด้วยการปรับเปลี่ยนวิธีการใช้ชีวิตและการทานอาหาร โดยมีวิธีปฏิบัติตนดังต่อไปนี้

  • หยุดสูบบุหรี่
  • รักษาน้ำหนักไม่ให้มากเกินปกติ
  • ตรวจสอบความดันเลือดอย่างสม่ำเสมอ
  • ออกกำลังกายเป็นประจำหลายวันต่อสัปดาห์
  • จำกัดการทานเครื่องดื่มแอลกอฮอลและคาเฟอีน
  • ควรนอนหลับ 7-9 ชั่วโมง
  • เพิ่มการทานผักและผลไม้
  • ทานอาหารที่เป็นธัญญาพืชขัดสีแทนขนมปังขาวและพาสต้า ควรเปลี่ยนไปทานในรูปแบบโฮวีตแทน
  • ไม่ปรุงอาหารเพิ่มเช่นใส่น้ำตาลมากเกินไปหรือ หลีกเลี่ยงการทานอาหารที่มีไขมันสูง
  • ควรทานเกลือไม่เกิน 1,500 มิลิกรัมต่อวัน
  • ควรลดการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮลและยาที่มากเกินไป
Комментарии (0)

Leave a Reply

Your email address will not be published. Required fields are marked *